remove_red_eye557 Views
รู้ก่อนซื้อ ความแตกต่างของประกันสุขภาพ vs โรคร้ายแรง
โพสต์วันที่ 12/09/2023
ทำไมเราต้องรู้ถึงความแตกต่างระหว่างประกันสุขภาพ vs โรคร้ายแรง ก่อนจะทำประกัน ?
แน่นอนว่าเพื่อไม่ให้ตัวเราเองเสียสิทธิประโยชน์จากเงื่อนไขประกันสุขภาพที่อาจซ้ำซ้อนกัน ซึ่งก็เหมือนเราต้องจ่ายค่าเบี้ยประกันที่มากขึ้น ในขณะที่เราเคลมประกันได้แบบเดียวกัน เช่น เราเคลมประกัน IPD ค่ารักษาและค่าผ่าตัดได้ในวงเงินของบัตรประกันสุขภาพ เราก็ไม่จำเป็นเสมอว่าต้องใช้บัตรประกันโรคร้ายแรงเคลมเสริมไปด้วย นอกจากจะเกินวงเงินนั้นจริง เป็นต้น
ดังนั้นแล้วเราต้องรู้ถึงความแตกต่างสิทธิประโยชน์ของประกันสุขภาพ vs โรคร้ายแรงก่อนนั้นเองจ้า
อ่านเพิ่มเติม : คลิก
แน่นอนว่าเพื่อไม่ให้ตัวเราเองเสียสิทธิประโยชน์จากเงื่อนไขประกันสุขภาพที่อาจซ้ำซ้อนกัน ซึ่งก็เหมือนเราต้องจ่ายค่าเบี้ยประกันที่มากขึ้น ในขณะที่เราเคลมประกันได้แบบเดียวกัน เช่น เราเคลมประกัน IPD ค่ารักษาและค่าผ่าตัดได้ในวงเงินของบัตรประกันสุขภาพ เราก็ไม่จำเป็นเสมอว่าต้องใช้บัตรประกันโรคร้ายแรงเคลมเสริมไปด้วย นอกจากจะเกินวงเงินนั้นจริง เป็นต้น
ดังนั้นแล้วเราต้องรู้ถึงความแตกต่างสิทธิประโยชน์ของประกันสุขภาพ vs โรคร้ายแรงก่อนนั้นเองจ้า
D Health Plus (ไม่มีค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ)
จุดเด่น
- ให้ความคุ้มครองการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (IPD) แบบเหมาจ่ายตามจริง สูงสุดถึง 1 ล้านบาท ต่อครั้งการรักษา ไม่จำกัดครั้งต่อปี
- คุ้มครองค่าห้องแบบเหมาจ่าย สูงสุด 180 วัน, ICU สูงสุด 60 วัน, ค่ายากลับบ้านไม่เกิน 7 วัน และไม่เกิน 20,000 บาท
- วัยไหนก็สมัครได้ สมัครได้ตั้งแต่ 11-90 ปี และต่ออายุรายปีได้ถึงอายุ 98 ปี คุ้มครองถึงอายุ 99 ปี
- มีระยะเวลารอคอยเริ่มต้น 30 วัน และ 120 วันสำหรับโรคที่กำหนด
อ่านเพิ่มเติม : คลิก
D Care กลุ่มโรคยอดฮิต
กรณีเลือกระยะรุนแรง
กรณีเลือกระยะเริ่มต้น+รุนแรง
จุดเด่น
- สามารถสมัครได้ตั้งแต่อายุ 30 วัน – 70 ปี (ต่ออายุได้ถึง 80 ปี)
- ให้ความคุ้มครองสูงสุดถึงอายุ 81 ปี
- ไม่มีการตรวจสุขภาพก่อนซื้อ แต่จะต้องแจ้งประวัติการรักษาและเปิดเผยประวัติสุขภาพทั้งหมดก่อนทำประกัน
- สามารถเลือกกลุ่มโรคร้ายแรงที่กังวลได้ตามความต้องการ
- กลุ่ม 5 โรค - เลือกสูงสุดได้ 5 กลุ่ม
- กลุ่มโรคยอดฮิต
- ถ้าตรวจเจอโรค จ่ายเงินก้อนให้เลยตามทุนประกันที่เราทำไว้เลย
อ่านเพิ่มเติม : คลิก
ทำประกันสุขภาพ หรือ โรคร้ายแรงแบบไหนดีกว่ากัน?
เราต้องดูก่อนเลยว่าความเสี่ยงโรคร้ายตามช่วงอายุ มีโอกาสเกิดหลังเกษียณมากกว่าวัยหนุ่มสาว ในขณะที่การใช้ OPD/ IPD อาจเกิดกับช่วงวัยหนุ่มสาวมากกว่า เป็นต้น รวมถึงการนำสวัสดิการประกันกลุ่มของบริษัทมาพิจารณาด้วยว่าครอบคลุมมากน้อยขนาดไหน ตามที่เราต้องการหรือไม่ แต่หากมีกำลังซื้อประกันทั้งสองแบบได้ก็ควรทำทั้งคู่เพื่อให้ครอบคลุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้โดยไม่รู้ตัว
แท็กที่เกี่ยวข้อง
#ประกันสุขภาพ
#ประกันโรคร้ายแรง
#ความแตกต่างของประกันสุขภาพ
#ความแตกต่างของประกันโรคร้ายแรง